ค้นหาบล็อกนี้

วันพฤหัสบดีที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

แสดงความคิดเห็นนางสาว เอ

การแสดงความคิดเห็นเรื่องของนางสาว  เอ
        โดยส่วนตัวแล้ว  มีความรู้สึกว่า  ไม่เห็นด้วย   กับการใช้เทคโนโลยีตัดสินการกระทำ  ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีจะมีประโยชน์ในด้านการถ่ายทอดข่าวสารต่าง  ๆ ให้กับประชาชน  เพื่อให้ประชาชนสามารถรับรู้ข่าวสารต่าง  ๆ ได้อย่างรวดเร็ว  ทำให้ทันต่อเหตุการณ์ แต่การนำเทคโนโลมาใช้บางครั้งก็ไม่สามารถทำให้เราทราบข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากข่าวสารนั้นได้อย่างแน่นอน  ยิ่งการโพสต์ข้อความที่เกิดจากการเห็นภาพนิ่งแล้วโพสต์ข้อความแสดงความคิดเห็นซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบในหลาย    ด้านเช่นเดียวกับกรณีของนางสาวเอ  ซึ่งได้มีการโพสต์ถึงการกระทำของนางสาวเอ ในเรื่องของการขับรถชนกับรถตู้โดยสารเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต และในรูปภาพประกอบนั้น เป็นรูปที่  น.ส.เอยืนใช้โทรศัพท์อยู่ข้าง  ๆ ซากรถที่เกิดอุบัติเหตุ ซึ่งตามหลักความเป็นจริงแล้ว  เพียงรูปภาพเพียง  1  ภาพนั้นไม่สามารถตัดสินได้ว่าบุคคลในภาพกำลังทำอะไรอยู่  หรือรู้สึกอย่างไรต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เนื่องจากเราไม่ได้เข้าไปอยู่ในเหตุการณ์นั้น  และถ้าลองย้อนกลับไปว่า  ถ้าสมมติว่าเราไม่ได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับน.ส. เอ หรือไม่มีเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น รูปถ่ายนั้นเป็นเพียงถาพ  1  ภาพที่มีคนนำมาขึ้นกระทู้  เราก็จะไม่สามารถเดาได้เลยว่า  ในรูปนั้นเกิดเหตุการณอะไรบ้างนอกเหนือจากรถชนกัน ซึ่งนี่ก็เป็นผลที่เกิดจากการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเผยแพร่ข่าวสารซึ่งไม่ได้ส่งผลกระทบต่อผู้ที่เป็นข่าวเพียงอย่างเดียว  แต่ยังส่งผลกระทบไปยังครอบครัวของบุคคลที่เป็นข่าวด้วย 
        ดังนั้นการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเผยแพร่ข่าวสารหรือการรับฟังข่าวสารที่มาจากเทคโนโลยีต่าง ๆ ผู้รับสารควรจะมีวิจารณญาณในการรับฟังข่าวสาร  คิดให้รอบคอบถึงผลกระทบที่ตามมาภายหลังทั้งกับตนเองและกับผู้อื่นด้วย

วันอังคารที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

แผนการสอนวิชาหลักการตลาด


โรงเรียนศรีวิราชพณิชยการเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่  1
ชื่อวิชา  หลักการตลาด   รหัสวิชา  3200-1005                              จำนวน     3   หน่วยกิต      จำนวน  3   ชั่วโมง/สัปดาห์
ชื่อหน่วย               ความรู้พื้นฐานทางการตลาด                             เวลา      6    ชั่วโมง        
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1.   หัวข้อเรื่องและงาน      ความรู้พื้นฐานทางการตลาด            

2.   สาระสำคัญ
ปัจจุบันการตลาด (MARKETING) มีบทบาทสำคัญต่อองค์การธุรกิจต่างๆ เนื่องจากเป็นการติดต่อเกี่ยวกับคนและการตลาดมีการเปลี่ยนแปลงได้เร็ว เป็นลักษณะการตลาดแบบไร้พรมแดน ผู้ที่จะประสบความสำเร็จในธุรกิจได้นั้นต้องศึกษาและมีความรู้ทางด้านการตลาดเป็นอย่างดี และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการตลาดไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมในแต่ละสถานการณ์

3.   จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1   จุดประสงค์ปลายทางและจุดประสงค์ทั่วไป
1.  นักศึกษาอธิบายลักษณะทั่วไปของการตลาดได้
2   นักศึกษาบอกความหมายของการตลาดได้
3. นักศึกษาอธิบายองค์ประกอบหรือส่วนประกอบทางการตลาดได้
4.  นักศึกษาบอกความสำคัญของการตลาดได้
5.  นักศึกษามีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3.2   จุดประสงค์นำทางหรือ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.   นักศึกษาทราบรายละเอียดของลักษณะทั่วไปของการตลาด
                2.   นักศึกษาทราบรายละเอียดของความหมายของการตลาด
                3.   นักศึกษาเข้าใจรายละเอียดขององค์ประกอบหรือส่วนประกอบทางการตลาด
                4.   นักศึกษาทราบรายละเอียดของความสำคัญของการตลาด
                5.    นักศึกษามีความตระหนักในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

4.   เนื้อหาสาระ
1.     ลักษณะทั่วไปของการตลาด
2.     ความหมายของการตลาด


3.     องค์ประกอบหรือส่วนประกอบทางการตลาด
        3.1  ปัจจัยที่ควบคุมได้
        3.2   ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้
4.    ความสำคัญของการตลาด

5.   กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1.        ผู้สอนชี้แจงการเรียนการสอนวิชาหลักการตลาด และกล่าวถึงความรู้ทั่วไปของการตลาดเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์กับเนื้อหาการเรียนการสอน และแจ้งผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ขั้นสอน
2.     ผู้สอนอภิปรายลักษณะทั่วไปของการตลาด ความหมายของการตลาด องค์ประกอบหรือส่วนประกอบทางการตลาดและความสำคัญของการตลาด ผู้สอนยกตัวอย่างโดยใช้ภาพประกอบ
3.     เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมโดยการซักถาม
4.     ผู้เรียนจับคู่เพื่อนคู่คิดเพื่อระดมสมองร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
·         ผู้เรียนเตรียมผลิตภัณฑ์มา 1 ชิ้น
·         อภิปรายถึงลักษณะทั่วไปของการตลาด
·         ปัญหาของผลิตภัณฑ์ในตลาด
·         องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ที่ควรศึกษา
·         อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
5.     ทุกคู่ออกมาสรุปหน้าชั้นเรียน
6.     นำผลงานส่งผู้สอนเพื่อประเมินผล
7.     มอบหมายให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มเพื่อปฏิบัติตามใบงาน
ขั้นสรุปและการประยุกต์
8.     ผู้สอนและผู้เรียนสรุปข้อมูลที่ได้ไปศึกษาค้นคว้า โดยผู้สอนสุ่มผู้เรียน 2-3 คน ให้ออกมาสรุปหน้าชั้นและการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

6.   งานที่มอบหมาย
                1.   ปฏิบัติตามใบงาน
               
7.   สื่อและแหล่งการเรียนรู้             
                1.  คอมพิวเตอร์
2.  ผลิตภัณฑ์
                3.  ภาพประกอบ
                4.  ใบความรู้
                5.  หนังสือเรียน  รายวิชา  หลักการตลาด   รหัสวิชา  3200-1005        
                6.  ห้องสมุด
                7.   อินเทอร์เน็ต
8.   หนังสือพิมพ์  วารสาร 

8.   การวัดผลประเมินผล
วิธีวัดผล
1.     ตรวจใบงาน
2.     สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานรายบุคคล
3.     สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.     การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เครื่องมือวัดผล
1.     ใบงาน
2.     แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานรายบุคคล
3.     แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.     แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยอาจารย์และนักศึกษาร่วมกันประเมิน 
เกณฑ์การประเมินผล
1.     เกณฑ์ผ่านใบงาน คือ พอใช้
2.     แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานรายบุคคล เกณฑ์ผ่าน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
3.     แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 50% ขึ้นไป
4.     แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตามสภาพจริง










9.   ความเห็นของผู้บริหาร / ผู้ที่ได้รับมอบหมาย / ผู้เชียวชาญ
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..............................................................
 (                                                                             )
                                                                                ผู้ตรวจสอบ
วันที่........... /........................../....................

10.   บันทึกผลหลังการสอน
ผลการใช้แผนการสอน
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
ผลการเรียนของนักศึกษา
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

11.   ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..............................................................
       (                                                                       )
ครูผู้สอน
วันที่........... /........................../....................

      เมืองเพชรบุรีใช่จะมีแต่เพียงน้ำตาลโตนด...น้ำตาลมะพร้าวก็มีชื่อเหมือนกัน
ที่บ้านบางหอ...
นักเรียนของผมเข้าไปทำรายงานเกี่ยวกับนวัตกรรมภายในชุมชน  นำเรื่อง
ราวมาเล่าสู่กันในห้องเรียน...จึงขอนำมาเล่าขยายความต่อให้ชาว
ok ได้อ่านกัน
 ศุภาพัชญ์และนุ่น  พร้อมกับเพื่อนของเธอเข้าไปศึกษาการทำน้ำตาลมะพร้าว
ที่บ้านบางหอ
  ตำบลบางครก  อำเภอบ้านแหลม ..ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากบ้านของเธอนัก
    กลุ่มอาชีพทำน้ำตาลมะพร้าวที่บ้านบางหอเกิดจากคนทำน้ำตาลมะพร้าว 15
ครัวเรือน  โดยแต่ละครอบครัวมีสวนมะพร้าวของตนเอง  สมาชิกที่เข้าร่วมกลุ่มจะนำ
น้ำตาลสดที่ได้มาส่งที่กลุ่มและคนในบ้านที่ว่างงาน
   ก็จะมาช่วยกันแปรรูปทำน้ำตาล
มะพร้าวร่วมกัน...ปัจจุบันสมาชิกขยายตัวร่วม
130 คน..นับว่าเป็นกลุ่มที่ใหญ่พอสมควร
   การทำน้ำตาลมะพร้าวก็คล้ายกับการทำตาลโตนด..ตรงที่ชาวบ้านจะเลือกจั่น
มะพร้าวขนาดพอเหมาะ ไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไป
  ใช้มีดปาดปลายจั่นออก 3-4 นิ้วและ
กรีดกาบหุ้มโคนจั่นแล้วใช้เชือกโน้มจั่นให้ต่ำลง
  แล้วทิ้งไว้หนึ่งคืน
น้ำตาลที่ได้ผ่านการเคี่ยว..ปั่นให้แห้ง (ปัจจุบันใช้มอเตอร์ปั่น)  แล้วนำมา
หยอด..ลงเบ้าที่มีผ้าขาวบางชุบน้ำไว้..จนแห้งก่อนนำมาบรรจุขายต่อไป
ตาลมะเพร้าวอาจจะมีความหวานสู้ตาลโตนดไม่ได้......จึงไม่แปลกอะไร
ที่ชาวบ้านจะมีนวัตกรรมใหม่เติมน้ำตาลทรายลงไป..เพื่อเพิ่มความหวาน
บ้านบางหออยู่ไม่ไกลจากตัวเมืองเพชรบุรีมากนัก..ขับรถผ่านอำเภอเขาย้อย
ผ่านบ้านทับคาง
  แล้วเลี้ยวซ้ายมาหนองปลาไหล..วิ่งมาเรื่อย ๆ ก็ถึงบางหอ..
นวัตกรรมในชุมชน..เป็นโครงงานที่นักเรียนของผมสืบค้นภูมิปัญญาไทย
ใช้แหล่งเรียนรู้และวิทยาการภายในชุมชน..นำมาวิเคราะห์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในห้องเรียน
ซึ่งผมจะแวะเวียนนำมาเล่าสู่กันฟังอีก..ต่อไป..อย่าลืมติดตามอ่านครับ..
 มีอะไร ๆ  ที่สนุกเยอะเลย...
เรียนรู้สู่การปฏิบัติ..หยอดน้ำตาลกับชาวบ้านค่ะ
เพิ่มคำอธิบายภาพ
กว่าจะได้น้ำตาลต้องเลือกจั่นมะพร้าวที่พอเหมาะ.ปาดออก 3-4 นิ้ว..
กรีดกาบหุ้มโคนจั่น..โน้มจั่นสู่กระบอกรอน้ำตาลทิ้งไว้หนึ่งคืน
แปลงสวนมะพร้าวที่รอวันโตเพื่อทำตาล..
เมื่อก่อนใช้กระบอกไม้ไผ่..เดี๋ยวนี้กระบอกตาลเปลี่ยนเป็นพาสติกแทน
นำน้ำตาลมาเคี่ยวและปั่นจนพอเหมาะ...แล้วนำมาหยอดในเบ้า
เมื่อแห้งรูปร่างหน้าตาเป็นแบบนี้..ส่งไปขายได้เลยกิโลละ 25 บาท


วันจันทร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2554

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว


ชื่อ        นางสาวสุลัดดา   ก๋าใจ
ชื่อเล่น   จุ๋ม
ว/ด/ป เกิด   12  สิงหาคม   2529
ที่อยู่      196  . 5  .จำป่าหวาย  .เมือง  .พะเยา  56000
เบอร์โทร     083-3230318
การศึกษา    มัธยมจบจากโรงเรียนพะเยาพิทยาคม
      ปริญญาตรีจบจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต   คณะวิทยาการจัดการ  เอกบริหารธุรกิจ
สถานที่ทำงาน     โรงเรียนศรีวิราชพณิชยการเทคโนโลยี    ตำแหน่งงาน  ครูผู้สอนสาขาการขาย-การตลาด
ประสบการณ์การทำงาน
-         บริษัทโฆษณา  ตำแหน่งงาน  ฝ่ายบุคคล